รูป หลัก ศิลา จารึก

๓ ลองอ่านบทเรียนเรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อสมุทร ดูสิ สนุกไม่แพ้กัน อ่านจบแล้ว อย่าลืมไปสนุกกันต่อกับ แอปพลิเคชัน StartDee คลิกแบนเนอร์ด้านล่างเลย

  1. ศิลาจารึก หลักที่ ๑
  2. ศิลาจารึก หลักที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิชาภาษาไทย
  3. สื่อการสอน ศิลาจารึก Archives - สื่อการสอนฟรี.com

ศิลาจารึก หลักที่ ๑

มีผู้บันทึกไว้หลังจากสิ้นรัชกาลพ่อขุนรามคำแหง เนื่องจากในตอนที่ ๒ นี้ เริ่มที่ว่า "เมื่อชั่วพ่อขุนรามคำ แหง... " ๒.

๒๒๐๕ โดยมิชชันนารีคาทอลิคฝรั่งเศส ได้มีการพิมพ์คำสอนทางคริสตศาสนา เป็นภาษาไทย จำนวน ๒๖ เล่ม หนังสือไวยากรณ์ไทยและบาลี ๑ เล่ม และพจนานุกรมไทยอีก ๑ เล่ม มีการตั้งโรงพิมพ์ขึ้นที่เมืองลพบุรี ในสมัยตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์และก่อนหน้านั้น ก่อนจะมีการนิยมเขียนหนังสือบนกระดาษฝรั่ง การเขียนหนังสือไทย ได้ยึดหลักเขียนใต้เส้นบรรทัด โดยถือเอาด้านบนของตัวหนังสือ ไปชนด้านล่างของเส้นบรรทัด เลียนแบบการเขียนหนังสือของอินเดีย การปรับตัวหนังสือไทย ให้เป็นตัวพิมพ์สำหรับใช้พิมพ์ ทำให้เกิดรูปแบบตัวหนังสือไทยอีกแบบหนึ่ง ที่มีความสวยงามและอ่านง่าย | บน |

ศ. ๑๘๒๖ เป็นต้นมา จนกระทั่งหลัง พ. ๑๘๓๕ จึงจารึกครบทั้ง ๔ ด้าน ทั้งนี้ ในหนังสือจารึกสมัยสุโขทัย ได้กำหนดเป็น "ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง พ.

  1. ใช้ฟังก์ชัน VLOOKUP ใน Google Sheets
  2. สื่อการสอน ศิลาจารึก Archives - สื่อการสอนฟรี.com
  3. รูปหลักศิลาจารึก
  4. ตรวจ สอบ เกษตรกร

ศิลาจารึก หลักที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 วิชาภาษาไทย

สมุดพก กว้าง ๘ ซ. ม. ยาว ๑๕ ซ. ม. ๒. สมุดถือเฝ้า กว้าง ๑๐ ซ. ยาว ๒๖ ซ. ม. ๓. สมุดจดหมายเหตุ กว้าง ๑๒ ซ. ยาว ๓๔ ซ. ม. ๔. สมุดพระมาลัย กว้าง ๑๓ ซ. ยาว ๖๖ ซม. ๕. สมุดไสยศาสตร์ กว้าง ๑๕ ซม. ยาว ๔๑ ซม. ๖. สมุดภาพไตรภูมิ แบบ ๑ กว้าง ๑๒ ซม. ยาว ๖๓. ซม. ๗. สมุดภาพไตรภูมิ แบบ ๒ กว้าง ๒๘ ซม. ยาว ๕ ซม.

รูปหลักศิลาจารึก

store: ศิลาจารึกหลักที่ 1

สื่อการสอน ศิลาจารึก Archives - สื่อการสอนฟรี.com

๑๑๕๐ ขอมได้ดัดแปลงอักษรอินเดียใต้ เป็นตัวอักษรขอม โดยได้ปรับปรุงให้เหมาะสมขึ้น เพื่อให้สะดวกในการสลักลงบนหิน พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงดัดแปลงตัวหนังสือขอมหวัดให้ดีขึ้นมาเป็นตัวหนังสือไทย โดยมีการแก้ไขปรับปรุงที่สำคัญ คือ ๑. เปลี่ยนแปลงรูปตัวอักษรขอม ให้ง่ายและสะดวกแก่การเขียนยิ่งขึ้น ๒. ตัวอักษรสังโยค โดยให้เขียนพยัญชนะสองตัวเรียงตามกัน และเอาสระที่อยู่สูงกว่าและต่ำกว่าพยัญชนะมาอยู่ในบันทัดเดียวกัน ๓.

ศ. 1835 บอกเล่าเรื่องราวที่กล่าวถึงเหตุการณ์ต่างๆ ในสมัยสุโขทัย ศิลาจารึกสุโขทัยที่ถูกสลักไว้นั้นเมื่อนำมาแปลแล้วมีจำนวนทั้งสิ้น 15 หลัก ปัจจุบันได้จำแนกตามลักษณะของตัวอักษรออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ – จารึกที่ใช้อักษรขอมสุโขทัย – จารึกที่ใช้อักษรไทยสุโขทัย – จารึกที่ใช้อักษรขอมขึ้นต้น และต่อด้วยอักษรไทยสุโขทัย – จารึกที่ใช้อักษรไทยขึ้นต้น และต่อด้วยอักษรขอมสุโขทัย – จารึกที่ใช้อักษรไทยสุโขทัยขึ้นต้น และต่อด้วยอักษรธรรมล้านนา ตัวอย่างศิลาจารึกที่พบในประเทศไทย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง เป็นศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่สร้างจากหินทรายแป้ง กว้างด้านละ 35 ซม. สูง 111 ซม. เป็นหลักสี่เหลี่ยมด้านเท่าทรงยอ หรือทรงกระโจม การจารึกเป็นแบบอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย หลังจากที่พบในปี พ. 2476 รัชกาลที่ 4 ได้ทรงนำนักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์มาทำวิจัยพิสูจน์ศิลาจารึกจนได้ผลสรุปในเวลาต่อมา ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลาจารึกวัดศรีชุม เป็นศิลาจารึกหลักที่ 2 ที่สร้างจากหินดินดาน กว้างด้านละ 67 ซม. สูง 275 ซม. ความหนา 8 ซม. เป็นรูปใบเสมา โดยจารึกเป็นแบบอักษรไทยสุโขทัย ภาษาไทย ถูกพบในปี พ. 2430 โดยนายพลโท พระยาสโมสรสรรพการ ที่อุโมงค์วัดศรีชุม เมืองเก่าสุโขทัย ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ศิลาจารึกวัดอโสการาม เป็นศิลาจารึกหลักที่ 93 ที่สร้างจากหินแปร กว้างด้านละ 54 ซม.

ศิลาจารึก | หน้าแรก | ย้อนกลับ | หน้าต่อไป | ลายสือไทยของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เมื่อครั้งยังผนวชเป็นพระภิกษุ ยังไม่ได้ครองราชย์ ได้เสด็จประพาสเมืองเหนือ เมื่อปี พ. ศ. ๒๓๗๖ ได้ทรงพบแท่นศิลาแห่งหนึ่งก่อไว้ที่ริมเนินปราสาท และเสาศิลาจารึกอักษรเขมรเสาหนึ่ง และอักษรไทยโบราณอีกเสาหนึ่ง จึงรับสั่งให้ชลอลงมาไว้ที่วัดราชาธิวาส ภายหลังเมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว จึงดำรัสสั่งให้นำไปไว้ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ศิลาจารึกอักษรไทยโบราณนี้ก็คือ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ที่ได้ทรงจารึกพระราชประวัติ และเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับเมืองสุโขทัย และจารึกด้วยอักษรไทยที่พระองค์ประดิษฐ์ขึ้น หลักศิลาจารึกหลักนี้ นับว่าเป็นศิลาจารึกหลักสำคัญ และล้ำค่ายิ่งของไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ เป็นผู้อ่านศิลาจารึกนี้ได้เป็นคนแรก เมื่อปี พ. ๒๓๗๙ ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบและอ่านศิลาจารึก และเป็นคนแรกที่ค้นคว้า เกี่ยวกับกำเนิดตัวหนังสือไทย และสรุปได้ ดังนี้ ต้นตอของตัวหนังสือไทย เริ่มจากอักษรโฟนิเชียน ซึ่งเป็นต้นเค้าของอักษรพราหมีของอินเดีย ต่อมาขอมได้ดัดแปลงอักษรอินเดีย ให้เป็นหนังสือขอม ซึ่งปรากฎมีจารึกอักษรขอม ตั้งแต่สมัยพระเจ้าภววรมันที่ ๑ พ.

ศ. ๑๘๖๐ รวมเวลาที่ทรงครองราชย์ประมาณ ๔๐ ปี แนะนำผู้จัดทำ ชื่อ นางสาวเสาวลักษณ์ แก้วชัด รหัสนักศึกษา 5681113010 นักศึกษาครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ชื่อเล่น เเนท เกิดวันที่ 12 มีนาคม 2537

Tuesday, 21-Jun-22 00:10:09 UTC
coach-shopping-ราคา