สิทธิ ประโยชน์ กองทุน ประกัน สังคม

5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน สำหรับระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน เช่น จ่ายเงินสมทบมาได้ 193 เดือน จะได้รับเงินบำนาญชราภาพในอัตรา 21. 5% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย เป็นต้น ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนทำงานได้รับเงินค่าจ้างเดือนละ 15, 000 บาท มาตลอด และส่งเงินสมทบมาแล้ว 20 ปี อายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง จะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละเท่าใด และหากเสียชีวิตภายใน 5 ปี จะได้รับเงินหรือไม่อย่างไร 1. ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญ = 15 ปี (แรก) ได้อัตราเงินบำนาญ 20% = 5 ปี (หลัง) ได้อัตราเงินบำนาญ (1. 5% (ปรับเพิ่ม) × 5ปี) = 7. 5% รวมอัตราเงินบำนาญ 20 ปี = 20% + 7. 5% = 27. 5% ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญรายเดือน = 27. 5% ของ 15, 000 บาท = 4, 125 บาท/เดือนจนตลอดชีวิต 2. กรณีผู้ประกันตนที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพเสียชีวิตภายใน 5 ปี ทายาทผู้มีสิทธิ จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพจำนวน 10 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน = 4, 125 บาท × 10 เท่า = 41, 250 บาท ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการจ่ายเงินสมทบรายเดือนกับกองทุนประกันสังคมนั้นมิได้สูญเปล่า เพราะนอกจากจะได้รับสิทธิประโยชน์ระหว่าง การทำงานมากมายแล้ว เมื่อถึงวัยเกษียณก็ยังคง อุ่นใจได้ว่ามีเงินออมชราภาพไว้เป็นหลักประกัน ที่มา ประกันสังคม

มนุษย์เงินเดือนจะได้เงินเกษียณจากกองทุนประกันสังคมเท่าไหร่?

สิทธิประโยชน์กรณีชราภาพ - กองทุนประกันสังคม - อาภรณ์การบัญชี

กรณีตาย ได้รับค่าทำศพ 40, 000 บาทและได้รับเงินสงเคราะห์ กรณีตาย ดังนี้ จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 36 เดือนขึ้นไป แต่ไม่ถึง 120 เดือนได้รับในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 4 เดือน จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 120 เดือนขึ้นไป ได้รับในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย 12 เดือน 5. กรณีสงเคราะห์บุตร ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 600 บาท ต่อบุตรหนึ่งคน สำหรับบุตรที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปี และใช้สิทธ์ได้ไม่เกิน 3 คน 6. กรณีชราภาพ เงินบำนาญชราภาพ หากจ่ายเงินสมทบครบ 180 เดือน (15 ปี) จะได้รับในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็นฐานคำนวณสุดท้ายก่อนความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุด หากจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน (15 ปีขึ้นไป) ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินบำนาญชราภาพตามข้อ 1. ขึ้นอีกร้อยละ 1. 5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน เงินบำเหน็จชราภาพ หากจ่ายเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบเฉพาะในส่วนผู้ประกันตน หากจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ พร้อมผลประโยชน์ตอบแทนตามที่ประกันสังคมกำหนด กรณีผู้รับบำเหน็จชราภาพถึงแก่ความตายภายใน 60 เดือน นับแต่เดือนที่มีสิทธิได้รับเงินบำนาญชราภาพ จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพจำนวน 10 เท่าของเงินบำนาญชราภาพรายเดือนที่ได้รับคราวสุดท้ายก่อนถึงแก่ความตาย 7.

ประกันสังคม ชี้แจง กรณีการปรับปรุงกรณีชราภาพ "3 ขอ"

กรณีสงเคราะห์บุตร: จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน เป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย ยกเว้น บุตรบุญธรรม หรือบุตรที่ยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของคนอื่น สิทธิประโยชน์: ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 400 บาท ตั้งแต่บุตรอายุแรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ซึ่งสามารถขอใช้สิทธิ์ได้ไม่เกิน 3 คน 6. กรณีชราภาพ: แยกเป็น 2 กรณีดังนี้ กรณีบำนาญชราภาพ:ต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน (ไม่ต้องจ่าย 180 เดือนติดต่อกัน)ต้องมีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง สิทธิประโยชน์:ถ้าจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือนจะได้รับเงินบำนาญชราภาพเป็นรายเดือน ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ถ้าจ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือนจะได้รับการปรับเพิ่มบำนาญชราภาพอีกร้อยละ 1.

สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม – GETHR.CO

  • Warrix.co.th | Warrix เสื้อเชียร์ลิขสิทธิ์แท้ | แบรนด์คนไทย เชียร์คนไทย
  • จาก ไทย ไป บาห์เรน กี่ ชั่วโมง กีฬา
  • เกณฑ์ การนำ เสนอ
  • Jacket suit ชาย 8
  • รีวิว (มาบอกต่อ) Msi optix mag241c Gaming Monitor 144 Hertz - YouTube
  • ดุม เวฟ 100s
  • สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมที่ควรรู้
  • สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม – GETHR.CO
  • พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าในร้านสะดวกซื้อเซเว่นอีเลฟเว่น: บทที่3

สิทธิประโยชน์จากประกันสังคม กองทุนประกันสังคม คือ กองทุนที่ให้หลักประกันแก่ผู้ประกันตน ให้ได้รับประโยชน์ทดแทน เมื่อต้องประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย ซึ่งไม่เนื่องจากการทํางาน รวมทั้งกรณีคลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน 1. กรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย (ไม่เนื่องจากการทำงาน) - ได้รับการรักษาพยาบาลโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเมื่อเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลตามบัตรรับรองสิทธิฯ -ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ร้อยละ 50 ของค่าจ้าง แต่ไม่เกิน 90 วันต่อครั้งและไม่เกิน 180 วันต่อปี *เว้นแต่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังจะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ไม่เกิน 365 วัน -กรณีทันตกรรมได้รับคำบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็นไม่เกิน 900 บาทต่อปี (กรณีถอนฟันอุดฟันขูดหินปูนและผ่าตัดฟันคุด) 2. กรณีคลอดบุตร จ่ายงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนเดือนคลอดบุตร จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายกรณีคลอดบุตรให้แก่ผู้ประกันตนในอัตรา 15, 000 บาทต่อการคลอดบุตรหนึ่งครั้ง สำหรับผู้ประกันตนหญิงมีสิทธิรับเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วันสำหรับการใช้สิทธิบุตรคนที่ 3 จะไม่ได้รับสิทธิเงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตรเหมาจ่ายในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นระยะเวลา 90 วัน กรณีสามีและภรรยาเป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ให้ใช้สิทธิในการเบิกค่าคลอดบุตรฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ไม่จำกัดจำนวนบุตร/ครั้ง 3.

5% ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน (ถ้ามีเศษเกินจะถูกปัดทิ้ง เช่น ถ้าสะสมมา 16 ปี 2 เดือน ก็คิดแค่ 16 ปี) อธิบายเรียบร้อยแล้ว สรุปมาให้เป็นตาราง เพื่อช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น ระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบ (ปี) เงินบำนาญที่ได้รับ ร้อยละของค่าจ้างเดือนสุดท้าย จำนวนเงิน (บาท/เดือน) 15 20 3, 000 27. 5 4, 125 25 35 5, 250 30 42.

Tuesday, 21-Jun-22 00:12:15 UTC
ไฟ-นอน-นา-220v